blogนี้ทำขึ้นเพื่อต้องการเก็บข้อมูลที่ได้จากการซื้อหนังสือแล้วเนื่องจากอยากเก็บไว้ เพื่อง่ายต่อการค้นหา และเก็บสำรองเพราะนับวันหนังสือก็จะเก่าและมีเยอะขึ้นทำให้หาที่เก็บยาก ถ้าสำนักพิมพ์ใดเห็นว่าไม่สมควรก็แจ้งมาเพื่อลบบทความนั้นๆๆได้ครับ

หมายเหตุ บทความ ที่นำมาลงเพื่อเตื่อนหรือเก็บไว้เป็นความรู้ไม่ได้นำไปทดสอบความใช้งานไ้ด้จริงหรือเปล่าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมานะที่นี้ด้วย

วันจันทร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2557

สัญลักษณ์ที่อยู่หลังอุปกรณ์ต่างๆ

PC today ฉบับ118 decmber 2012 
(ซึ่งทางPc today ได้นำมาจาก gizmodo.com)
สัญลักษณ์ต่างๆที่อยู่บนอุปกรณ์ต่างๆ

     เคยสังเกตบ้างหรือเปล่าหลังอุปกรณ์(ที่เห็นเยอะก็จอคอมพิวเตอร์)จะมีสัญลักษณ์(ไ่ม่ใช่สัญลักษณ์วงจรไฟฟ้านะัครับ) จปรากฎให้เราเห็นซึ่งมีความสำคัญไปดูที่ละัอันกันครับ
     
     Underwriter Laboratories
เป็นองค์กรอิสระที่ไม่มุ่งหวังกำไรเพื่อความปลอดภัยทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีหน้าที่ทั้งทดสอบ วิเคราะห์ และทำการแก้ไขผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่วางจำหน่ายทั้งในอเมริกา แคนนาดา และแม็ึกซิโก  เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆ เหล่านี้ได้มาตรฐานด้นความปลอดภัย สินค้าอิเล็กทรอนิกส์เกือบทุกชนิดที่ขายในสหรัฐอเมริกาทั้งกล้องดิจิตอล กีต้าไฟฟ้า หูฟัง รวมถึงหน้าจอ OLED ที่ผ่านการทดสอบจาก UL จะได้มาตรฐานทั้งจากหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคและข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ




CSA International

เป็นอีกองค์กรหนึ่งที่ทำหน้าที่ทดสอบและรับรองให้กับผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆ จำวพก ท่อน้ำ ระบบ HVAC และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ขายในตลาดสหรัฐอเมริกา และแคนนาดา การมีเครื่องหมายของ CSA ชี้ให้เห็นว่าสินค้านี้ผ่านมาตรฐานโดยทั่วไปเรียบร้อยแล้ว



Federal Communications Commision

 เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงว่าอุปกรณ์นี้ผ่านการตรวจสอบว่าไม่มีการรบกวนของสัญญาณคลื่นวิทยุต่อ อุปกรณ์ชิ้นอื่นๆ และใช้คลื่นวิทยุตามข้อบังคับ Title 417  Part 8  Subpart B ซึ่งบังคับนี้แบ่งได้สองคลาสคือ
คลาส A : เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรมหรือภาคธุรกิจที่ออกแบบมาเพื่อใช้่งานภายนอกบริเวณที่อยู่อาศัย 
คลาส B : เครืองมื่อต่างที่สำหรับการใช้ในบ้าน ทั้งพีซี แท็ปเล็ต โทรศัพท์เคลื่อนที่ พริ้นเตอร์ วิทยุ โฮมเธียเตอร์ ฯลฯ

CE หรือ European Conformity

เป็นสัญลักษณ์ที่จำเป็นสำหรับสินค้าที่วางขายหรือนำเข้าในประเทศทั้งหลายที่เป็นสมาชิกในสหภาพยุโรป ซึ่งทำหน้าที่คล้ย ๆ กับสัญลักษณ์ UL ของฝรั่งอเมริกาซึ่งการมีสัญญลักษณ์ CE นี้จะทำให้นำสินค้าหรือวางจำหน่ายในประเทศแถบยุโรปได้ง่ายขึ้นนอกจากนี้ตัวเลข 4 ตัวที่ต่อท้ายสัญลักษณ์ CLนั้นบ่งบอกถึงบริษัทที่ได้รับใบรับรองจาก CE


 CE R&TTE
หรือที่รู้จักในนาม "สัญลัีกษณ์เตือน" บ่งชี้ว่าอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่มีสัญลักษณ์นี้มีการละเมิตกฎหายหรือข้อบังคับสัญญาบางประเทศ ยกตัวอย่างเช่น iPhone ซึ่งละเมิดบังคับของประเทศฝรังเศสที่ใช้ความถี่ระหว่าง 2.4 GHz - 2.454 Ghz เมื่ออยู่ในสถานที่เปิดซึ่ง iPhone อ้างว่าจัดอยู่ในอุปกรณ์ประเภทคลาส 2 แต่ในขณะที่ข้อบังคับกำหนดให้อุปกรณ์ที่ใช้ช่วงความถี่นี้จัดอยู่ในคลาส 1




waste Electric & Electronic Equipment
หรือ WEEE เป็นสัญลักษณ์ที่บอกว่าอุปกรณ์ชิ้นนี้ผ่านข้อบังคับของสหภาพยุโรปในเรื่องการกำจัดขยะอิเล็กโทรนิกส๋์ โดยอุปกรณ์ที่มีสัญลักษณ์นี้ควรจะนำไปทำการรีไซเคิลแทนที่จะเอาไปทำลายทิ้ง









แม้ว่าหลายประเทศในสภาพยุโรปใช้แค่สัญลักษณ์ CE ก็เพียงพอแต่ก็มีบางประเทศอย่างเยอรมันที่ต้องการมากว่าโดยสัญลักษณ์นี้ คือ "GS Mark with Tuv dotCOM" ซึ่งบ่องบอกว่าอุปกรณ์หรือสินค้าที่มีีสัีญลักษณ์ที่มีเครื่องหมายนี้ผ่านการทดสอบบริษัทอย่าง TUV Rheinland (เหมือนกัน LU ของยุโรป) การมีเครื่องหมายนี้จึงทำให้ได้ครบตามข้อบังคับของประเทศเยอรมันว่าด้วยเรื่องเรื่องความปลอดภัยของสินค้าและอุปกรณ์




China Compulsory Certificate หรือ CCC

เครื่องหมายการรับรองความปลอดภัยในประเทศจีน โดยสินค้าที่นำเข้าหรือวางจำหน่ายในจีนจะต้องมีเครื่องหมายนี้แต่ก็มีสินค้าบางอย่างซึ่งมีไม่เยอะที่ไม่มีเครื่องหมายนี้แล้ววางจำหน่ายได้ตัวอย่างเช่น iPhone เป็นต้น













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น